แคลอรี่ (Calories) คือ หน่วยวัดพลังงานอย่างหนึ่งของอาหาร ส่วนใหญ่แล้ว จะหมายถึงพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม หรือพลังงานที่ร่างกายใช้ทำกิจกรรมต่าง ๆ มักเรียกว่า "กิโลแคลอรี่" (Kilocalories) ซึ่งจะเขียนอยู่บนฉลากอาหารว่า kcal โดยทั่วไปแล้ว ร่างกายต้องการแคลอรี่ เพื่อนำมาใช้เป็นพลังงานในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่หายใจไปจนถึงกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น การเดินหรือการวิ่ง อย่างไรก็ตาม หากรับจำนวนแคลอรี่มากกว่าที่เผาผลาญออกไป ร่างกายจะแปรรูปพลังงานเหล่านั้นเป็นไขมันส่วนเกินเก็บสะสมตามร่างกาย ส่งผลให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
แคลอรี่ (Calorie) คือ หน่วยที่ใช้ในการวัดค่าพลังงานที่เราสามารถพบเห็นได้ตามฉลาก หรือตามข้างบรรจุภัณฑ์อาหารประเภทต่างๆ มีประโยชน์เพื่อใช้บอกค่าพลังงานที่เรารับเข้าไปจากการรับประทานอาหารชนิดนั้นๆ
สารอาหารที่ให้พลังงานส่วนใหญ่จะเป็นอาหารจำพวกโปรตีน, คาร์โบไฮเดรต, และไขมัน โดยสามารถจำแนกออกเป็นปริมาณต่างๆ ได้ดังนี้
- โปรตีน ให้พลังงาน 4 แคลอรี่ต่อกรัม
- คาร์โบไฮเดรต ให้พลังงาน 4 แคลอรี่ต่อกรัม
-ไขมัน จะให้พลังงานสูงมากที่สุดถึง 9 แคลอรี่ต่อกรัม
จำนวนแคลอรี่ที่ควรได้รับ
โดยทั่วไปแล้ว ร่างกายควรได้รับพลังงานในแต่ละวันอย่างเพียงพอและเหมาะสม โดยผู้ชายควรได้รับพลังงานจากการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มในปริมาณ 2,500 กิโลแคลอรี่ (10,500 กิโลจูล) ส่วนผู้หญิงควรได้รับพลังงานในแต่ละวันไม่เกิน 2,000 กิโลแคลอรี่ (8,400 กิโลจูล) ทั้งนี้ เด็กแต่ละวัยมีความต้องการแคลอรี่แตกต่างกัน โดยเด็กโตต้องการพลังงานในการทำกิจกรรมต่าง ๆ มากกว่าเด็กเล็ก ส่วนวัยรุ่นต้องการพลังงานในจำนวนที่ใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ อย่างไรก็ตาม ปริมาณพลังงานที่ได้รับในแต่ละวันนั้นอาจแตกต่างกันไปตามปัจจัยอื่น เช่น เพศ อายุ น้ำหนักและส่วนสูงของร่างกาย หรือกิจกรรมที่ทำในแต่ละวัน ข้อมูลทางโภชนาการที่ระบุบนฉลากผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ถือเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้บริโภคสามารถตรวจจำนวนแคลอรี่ของอาหารหรือเครื่องดื่มที่รับประทานเข้าไปได้ โดยข้อมูลดังกล่าวจะระบุข้อมูลของไขมัน ไขมันอิ่มตัว คาร์โบไฮเดรต น้ำตาล โปรตีน และเกลือ ในปริมาณ 100 กรัม หรือหนึ่งหน่วยบริโภคของอาหารหรือเครื่องดื่มนั้น ๆ
แคลอรี่ (Calorie) คือ หน่วยที่ใช้ในการวัดค่าพลังงานที่เราสามารถพบเห็นได้ตามฉลาก หรือตามข้างบรรจุภัณฑ์อาหารประเภทต่างๆ มีประโยชน์เพื่อใช้บอกค่าพลังงานที่เรารับเข้าไปจากการรับประทานอาหารชนิดนั้นๆ
สารอาหารที่ให้พลังงานส่วนใหญ่จะเป็นอาหารจำพวกโปรตีน, คาร์โบไฮเดรต, และไขมัน โดยสามารถจำแนกออกเป็นปริมาณต่างๆ ได้ดังนี้
- โปรตีน ให้พลังงาน 4 แคลอรี่ต่อกรัม
- คาร์โบไฮเดรต ให้พลังงาน 4 แคลอรี่ต่อกรัม
-ไขมัน จะให้พลังงานสูงมากที่สุดถึง 9 แคลอรี่ต่อกรัม
จำนวนแคลอรี่ที่ควรได้รับ
โดยทั่วไปแล้ว ร่างกายควรได้รับพลังงานในแต่ละวันอย่างเพียงพอและเหมาะสม โดยผู้ชายควรได้รับพลังงานจากการบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่มในปริมาณ 2,500 กิโลแคลอรี่ (10,500 กิโลจูล) ส่วนผู้หญิงควรได้รับพลังงานในแต่ละวันไม่เกิน 2,000 กิโลแคลอรี่ (8,400 กิโลจูล) ทั้งนี้ เด็กแต่ละวัยมีความต้องการแคลอรี่แตกต่างกัน โดยเด็กโตต้องการพลังงานในการทำกิจกรรมต่าง ๆ มากกว่าเด็กเล็ก ส่วนวัยรุ่นต้องการพลังงานในจำนวนที่ใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ อย่างไรก็ตาม ปริมาณพลังงานที่ได้รับในแต่ละวันนั้นอาจแตกต่างกันไปตามปัจจัยอื่น เช่น เพศ อายุ น้ำหนักและส่วนสูงของร่างกาย หรือกิจกรรมที่ทำในแต่ละวัน ข้อมูลทางโภชนาการที่ระบุบนฉลากผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ถือเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้บริโภคสามารถตรวจจำนวนแคลอรี่ของอาหารหรือเครื่องดื่มที่รับประทานเข้าไปได้ โดยข้อมูลดังกล่าวจะระบุข้อมูลของไขมัน ไขมันอิ่มตัว คาร์โบไฮเดรต น้ำตาล โปรตีน และเกลือ ในปริมาณ 100 กรัม หรือหนึ่งหน่วยบริโภคของอาหารหรือเครื่องดื่มนั้น ๆ
ยำผักบุ้งทอดกรอบ 1 จาน ให้พลังงานทั้งสิ้น เท่ากับ 310 แคลอรี่อาหาร (Cal) [ 310 กิโลแคลอรี่(kcal)]
ลดความอ้วนแบบนับแคลอรี่คืออะไร
กระบวนการ เผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงานในร่างกายเรียกว่า “เมทาโบลิซึม (Metabolism)” เมื่ออายุเพิ่มขึ้นๆ ระบบการเผาผลาญพลังงานนี้ก็มีแนวโน้มอ่อนกำลังลงเรื่อยๆ ผลที่ตามมาคือจากเดิมที่อาหารและไขมันเคยถูกเผาผลาญเป็นพลังงานและนำไปใช้ อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย ก็จะเริ่มมีพลังงานเหลือใช้ ร่างกายจึงเก็บสะสมพลังงานส่วนเกินไว้เป็นไขมัน เป็นเหตุผลว่าทานอาหารเท่าๆ เดิม เมื่อก่อนทำไมไม่เห็นอ้วน แต่เดี๋ยวนี้กลับมามีไขมันมาพอกพูนตามเนื้อตัว รอบพุง รอบขา รอบสะโพก จนอึดอัดไปหมด แทบจับตัวเองใส่เสื้อผ้าเดิมๆ ไม่ได้อีกแล้ว
ใน วันหนึ่งๆ แต่ละคนมีการเผาผลาญปริมาณแคลอรี่มาใช้เป็นพลังงานไม่เท่ากัน
โดยเฉลี่ยผู้ชายต้องการปริมาณแคลอรีเพื่อใช้เป็นพลังงานต่อวันอยู่ที่ 1,800-2,500 กิโลแคลอรี่
ส่วนผู้หญิงต้องการปริมาณแคลอรี่ต่อวัน 1,500-2,000 กิโลแคลอรี ซึ่งเราเรียกว่า อัตราการเผาผลาญพลังงานพื้นฐานของร่างกาย (Basal Metabolic Rate)นั้นเอง
ผาผลาญพลังงานเท่าไร น้ำหนักจึงจะลดลง 1 กิโลกรัม ?
ถ้าหากต้องการให้น้ำหนักลดลง 1 กิโลกรัม จะต้องเผาผลาญพลังงานในร่างกายที่สะสมเอาไว้ให้ได้ถึง 7,700 กิโลแคลอรี่ ซึ่งหมายความว่าเราจะต้องรับประทานอาหารให้น้อยลง ร่างกายจึงจะดึงพลังงานในส่วนนี้ออกมาใช้ น้ำหนักตัวจึงจะลดลง แต่ในทางกลับกัน ถ้ารับประทานอาหารเกินความต้องการ ร่างกายก็จะสะสมวันละเล็กวันละน้อยไว้เป็นไขมัน พลังงานที่เกินไป 7,700 กิโลแคลอรี่ น้ำหนักตัวจะเพิ่มขึ้น 1 กิโลกรัม
ลองคิดดูว่าภายใน 1 วันเราจะรับประทานอาหารวันละ 2,200 กิโลแคลอรี่, 1 กิโลกรัม จะคิดเป็น 7,700 กิโลแคลอรี่ถ้าจะลดนำหนักสัปดาห์ละ 1 กิโลกรัมหรือ 7,700 กิโลแคลอรี่เพราะ ฉะนั้นภายใน 1 วัน ควรรับประทานให้ลดลงเฉลี่ยวันละ 1,100 กิโลแคลอรี่ 7 วันจะสามารถลดน้ำหนักได้ถึง 7,700 กิโลแคลอรี่ แต่ในการควบคุมน้ำหนักโดยวิธีนี้ ต้องมีวินัยในการควบคุมการรับประทานอาหารอย่างเคร่งครัดด้วยค่ะ
มื้อเช้ายังเป็นมื้อที่สำคัญที่สุดในการควบคุมน้ำหนัก เพราะเป็นตัวกำหนดระบบการเผาผลาญอาหารให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และสำหรับผู้ที่ควบคุมน้ำหนักอยู่จะสามารถช่วยให้คงน้ำหนักที่ลดไว้แล้ว น้ำหนักตัวไม่เพิ่มง่าย อาหารเช้าที่เหมาะสำหรับผู้ที่ควบคุมอาหารก็คือ ข้ามต้ม โจ๊ก เกี๊ยวน้ำ นมสด นมถั่วเหลือง โยเกิร์ต ผลไม้ น้ำผลไม้คั้นสด ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่อุดมไปด้วยไขมัน ชา กาแฟ โดนัท ขนมปัง คุกกี้ ปาท่องโก๋
กระบวนการ เผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงานในร่างกายเรียกว่า “เมทาโบลิซึม (Metabolism)” เมื่ออายุเพิ่มขึ้นๆ ระบบการเผาผลาญพลังงานนี้ก็มีแนวโน้มอ่อนกำลังลงเรื่อยๆ ผลที่ตามมาคือจากเดิมที่อาหารและไขมันเคยถูกเผาผลาญเป็นพลังงานและนำไปใช้ อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย ก็จะเริ่มมีพลังงานเหลือใช้ ร่างกายจึงเก็บสะสมพลังงานส่วนเกินไว้เป็นไขมัน เป็นเหตุผลว่าทานอาหารเท่าๆ เดิม เมื่อก่อนทำไมไม่เห็นอ้วน แต่เดี๋ยวนี้กลับมามีไขมันมาพอกพูนตามเนื้อตัว รอบพุง รอบขา รอบสะโพก จนอึดอัดไปหมด แทบจับตัวเองใส่เสื้อผ้าเดิมๆ ไม่ได้อีกแล้ว
ใน วันหนึ่งๆ แต่ละคนมีการเผาผลาญปริมาณแคลอรี่มาใช้เป็นพลังงานไม่เท่ากัน
โดยเฉลี่ยผู้ชายต้องการปริมาณแคลอรีเพื่อใช้เป็นพลังงานต่อวันอยู่ที่ 1,800-2,500 กิโลแคลอรี่
ส่วนผู้หญิงต้องการปริมาณแคลอรี่ต่อวัน 1,500-2,000 กิโลแคลอรี ซึ่งเราเรียกว่า อัตราการเผาผลาญพลังงานพื้นฐานของร่างกาย (Basal Metabolic Rate)นั้นเอง
ผาผลาญพลังงานเท่าไร น้ำหนักจึงจะลดลง 1 กิโลกรัม ?
ถ้าหากต้องการให้น้ำหนักลดลง 1 กิโลกรัม จะต้องเผาผลาญพลังงานในร่างกายที่สะสมเอาไว้ให้ได้ถึง 7,700 กิโลแคลอรี่ ซึ่งหมายความว่าเราจะต้องรับประทานอาหารให้น้อยลง ร่างกายจึงจะดึงพลังงานในส่วนนี้ออกมาใช้ น้ำหนักตัวจึงจะลดลง แต่ในทางกลับกัน ถ้ารับประทานอาหารเกินความต้องการ ร่างกายก็จะสะสมวันละเล็กวันละน้อยไว้เป็นไขมัน พลังงานที่เกินไป 7,700 กิโลแคลอรี่ น้ำหนักตัวจะเพิ่มขึ้น 1 กิโลกรัม
ลองคิดดูว่าภายใน 1 วันเราจะรับประทานอาหารวันละ 2,200 กิโลแคลอรี่, 1 กิโลกรัม จะคิดเป็น 7,700 กิโลแคลอรี่ถ้าจะลดนำหนักสัปดาห์ละ 1 กิโลกรัมหรือ 7,700 กิโลแคลอรี่เพราะ ฉะนั้นภายใน 1 วัน ควรรับประทานให้ลดลงเฉลี่ยวันละ 1,100 กิโลแคลอรี่ 7 วันจะสามารถลดน้ำหนักได้ถึง 7,700 กิโลแคลอรี่ แต่ในการควบคุมน้ำหนักโดยวิธีนี้ ต้องมีวินัยในการควบคุมการรับประทานอาหารอย่างเคร่งครัดด้วยค่ะ
มื้อเช้ายังเป็นมื้อที่สำคัญที่สุดในการควบคุมน้ำหนัก เพราะเป็นตัวกำหนดระบบการเผาผลาญอาหารให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และสำหรับผู้ที่ควบคุมน้ำหนักอยู่จะสามารถช่วยให้คงน้ำหนักที่ลดไว้แล้ว น้ำหนักตัวไม่เพิ่มง่าย อาหารเช้าที่เหมาะสำหรับผู้ที่ควบคุมอาหารก็คือ ข้ามต้ม โจ๊ก เกี๊ยวน้ำ นมสด นมถั่วเหลือง โยเกิร์ต ผลไม้ น้ำผลไม้คั้นสด ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่อุดมไปด้วยไขมัน ชา กาแฟ โดนัท ขนมปัง คุกกี้ ปาท่องโก๋